TechTrend I EP.6 I ระบบรางและเทคโนโลยีของรถไฟไทย ความแตกต่างและหน้าที่ของรถไฟแต่ละชนิด รถไฟความเร็วสูง จุดประสงค์หลักของรถไฟความเร็วสูงคือการเชื่อมต่อการขนส่งในระดับจังหวัด โดยเน้นความเร็วในการเดินทางเป็นหลัก จะเร็วตั้งแต่ระดับ 250 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และมีระยะห่างจากสถานีคือ 50 ถึง 150 กิโลเมตรต่อสถานีรถไฟทางไกล จุดประสงค์ของรถไฟทางไกลคือการเชื่อมการขนส่งระหว่างจังหวัด ไม่เน้นการขนคนจำนวนมาก ด้วยระยะทางที่ไกล ทำให้ระยะห่างต่อสถานีอยู่ที่ 5-20 กิโมลเมตร รถไฟชานเมือง รถไฟชานเมืองคือเป็นจุดเชื่อมของขนส่งจากชานเมืองเข้าสู่ตัวเมืองทำให้แต่ละสถานีมีระยะห่างประมาณ 3-5 กิโลเมตร และความเร็วของรถไฟจะอยู่ที่ประมาณ 80 ถึง 160 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เพื่อให้การขนส่งไปอย่างรวดเร็ว และระยะห่างอยู่ที่ 10-60 นาที รถไฟในเมือง จุดประสงค์เพื่อกระจายคนในแหล่งธุรกิจให้สามารถเดินทางในะระยะสั้น ส่วนมากจะมีรอบระยะห่างต่อขบวนประมาณ 1-5 ...

TechTrend I EP.5 I การดำเนินงานของหลักสูตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์อากาศยาน สถาบันระดับเตรียมอุดมศึกษาของไทยมีความพร้อมในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อให้เด็กและเยาวชนไทยมีความพร้อมต่อการเข้าสู่อุตสาหกรรมอากาศยาน แต่อย่างไรก็ตามสถาบันการศึกษาต้องมีสถานประกอบการหรือสายการบินมาร่วมในการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้สถาบันการศึกษาสามารถผลิตบุคลากรด้านการซ่อมบำรุงอากาศยาน หรือการพัฒนากาลังคนด้านอากาศยาน มีสมรรถนะสอดคล้องกับความ ต้องการของอุตสาหกรรม และมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับชาติหรือนานาชาติ ติดตามรับฟังรายการได้ทาง FM 89.5 MHz สถานีวิทยุกระจายเสียง มทร.ธัญบุรี วันอาทิตย์ที่ 5 พฤศจิกายน 2566 เวลา 8.00 – 8.30 น. นำเสนอสาระความรู้โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ...

TechTrend I EP.4 I มาตรฐานวิชาชีพช่างซ่อมบำรุงอากาศยาน รัฐบาลได้ผลักดันนโยบายไทยแลนด์ 4.0 เพื่อปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศ ไปสู่ “Value-Based Economy” หรือ เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วย นวัตกรรม โดยเฉพาะการส่งเสริมอุตสาหกรรม ด้านการบินและโลจิสติกส์ รัฐบาลได้ผลักดันให้ไทยเป็นศูนย์กลางการซ่อมและผลิตชิ้นส่วนอากาศยานในอาเซียนและมหานครการบิน บนพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกหรือ EEC เพื่อป้อนเข้ากลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ (New s-Curve) ด้านอุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ นอกจากนี้รัฐบาลมีแผนงานที่จะสร้างศูนย์กลางด้านอุตสาหกรรมการบินและอากาศยานของไทยในพื้นที่สนามบินอู่ตะเภา การเป็นจุดศูนย์กลางการบินในแต่ละภูมิภาค นั้นสามารถสร้างรายได้และสร้างเศรษฐกิจให้กับประเทศนั้นได้อย่างมหาศาล ประเทศไทยได้เปรียบเรื่องทาเลและที่ตั้ง ด้วยเหตุนี้รัฐบาลจึงสนับสนุงบประมาณให้สถาบันการศึกษาผลิตช่างซ่อมบารุงอากาศยาน โดยมีโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่และสนับสนุนงบประมาณในการจัดเตรียมบุคลากร จัดหาครุภัณฑ์ อุปกรณ์สาหรับการจัดการเรียนการสอน ทาให้สถาบันการศึกษาสามารถผลิตบุคลากรด้านการซ่อมบารุงอากาศยาน หรือการพัฒนากาลังคนด้านอากาศยาน มีสมรรถนะสอดคล้องกับความ ต้องการของอุตสาหกรรม และมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับชาติหรือนานาชาติ การพัฒนาจะต้องให้สถาบันการศึกษาได้รับการรับรองเป็นสถาบันฝึกอบรมระดับนานาชาติ และรองรับนักศึกาหรือบุคลากรในระดับอาเซียนได้ ติดตามรับฟังรายการได้ทาง FM ...

TechTrend I EP.3 I เส้นทางเข้าสู่อุตสาหกรรมการบินของช่างซ่อมบำรุงอากาศยาน การสร้างและเพิ่มการผลิตช่างอากาศยาน และการพัฒนากาลังคนให้มีสมรรถนะสอดคล้องกับความ ต้องการของอุตสาหกรรม และมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับชาติหรือนานาชาติ โดยการปรับปรุงหลักสูตรการเรียน การสอน การจัดสรรครุภัณฑ์เพื่อเป็นเครื่องมืออุปกรณ์สนับสนุนการเรียนการสอน รวมทั้งการเร่งพัฒนาครูผู้ฝึกสอนในด้านช่างอากาศยาน ให้มีมาตรฐานตามเกณฑ์การรับรองของสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย (Civil Aviation Authority of Thailand) เพื่อให้ได้การรับรองเป็นสถาบันฝึกอบรม ATO (Approve Training Organization) จาก CAAT นอกจากนี้ควรจัดการเรียนการสอนให้ได้มาตรฐานจาก องค์การความปลอดภัยด้านการบินแห่งสหภาพยุโรป (European Aviation Safety Agency: EASA) หรือองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (International Civil Aviation Organization: ICAO) การจัดสรรครุภัณฑ์เพื่อเป็นเครื่องมืออุปกรณ์สนับสนุนการเรียนการ ...

TechTrend I EP.2 I อนาคตอุตสาหกรรมการบิน การเติบโตของอุตสาหกรรมการบิน และขนส่งมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นทั่วโลก ดังเห็นได้จากผลกาไรที่เกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจของสายการบิน เนื่องมาจากปัจจัยหลายประการ เช่น การขนส่งสินค้าทางอากาศที่เพิ่มขึ้น ประชาชนใช้การเดินทางอากาศ มากขึ้น ทาให้การบินพาณิชย์ยังมีความต้องการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การคาดการณ์ความต้องการใช้ เครื่องบินทั่วโลกปี 2578 จะมีเครื่องบิน 45,240 ลาเป็นเครื่องบินในเอเชียซึ่งมีเครื่องบินมากถึง 16,970 ลา อัตราการเติบโตในเอเชียสูงถึงร้อยละ 167 แนวโน้มประเภทของเครื่องบินที่ผลิตมีแนวโน้มของขนาด ธุรกิจขนส่งทางอากาศมีแนวโน้มเติบโตดี โดยการขนส่งผู้โดยสารทั้งในประเทศและระหว่างประเทศจะเติบโตตามการฟื้นตัวของภาคท่องเที่ยว ส่วนบริการขนส่งสินค้าทยอยฟื้นตัวตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ขณะที่การแข่งขันด้าน ราคามีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น ท่ามกลางภาระการฟื้นฟูธุรกิจและต้นทุนที่มีแนวโน้มปรับสูงขึ้นตามราคาพลังงาน ติดตามรับฟังรายการได้ทาง FM 89.5 MHz สถานีวิทยุกระจายเสียง มทร.ธัญบุรี วันอาทิตย์ที่ 15 ตุลาคม ...

TechTrend I EP.1 I บัณฑิตพันธุ์ใหม่ เปิดเบื้องลึกความสำเร็จหลักสูตรคณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์- ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ซึ่งสามารถแบ่งเป็นโปรแกรมการศึกษาตามลักษณะคุณวุฒิของนักศึกษาที่สมัคร เข้าเรียนต่อในคณะวิศวกรรมศาสตร์- โดยมีสาขาวิชาที่เปิดการเรียนการสอนดังนี้ หลักสูตรวิศวกรรม ศาสตรบัณฑิต จำนวน 15 หลักสูตร และระดับบัณฑิตศึกษาจำนวน 9 หลักสูตรประกอบด้วย หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต จำนวน 6 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต 2 หลักสูตร และหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต 1 หลักสูตร ข้อมูลปี 2565 ติดตามรับฟังรายการได้ทาง FM 89.5 MHz สถานีวิทยุกระจายเสียง มทร.ธัญบุรี ...