SME CHAMPION : Business Model : รวยพันล้านไม่รู้เรื่อง! เจาะตลาดฐานล่างของพีระมิด คุณว่าคนกำลังซื้อน้อยเป็นทาร์เก็ตที่สำคัญไหม? ที่ต้องถามเพราะเรากำลังชี้โอกาสทางธุรกิจ และเปลี่ยนวิกฤติกลุ่มกำลังซื้อน้อย (Target the poor) ให้เป็นโอกาส เนื่องจากกลุ่มฐานรากของพีระมิด (Bottom of the Pyramid: BOP) มีขนาดตลาดที่ใหญ่กว่าที่หลายคนคาดคิดอย่างมาก ปัจจุบันฐานลูกค้ากลุ่ม Target the poor นี้มีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ เพราะพวกเข้ามักจะซื้อสินค้าที่มีความจำเป็นต่อชีวิต และมีคุณภาพที่ดี เหมาะสมกับราคา คุ้มค่าที่จะซื้อ หากสามารถเข้าใจพฤติกรรมของผู้บริโภคกลุ่มนี้ได้ก็จะสร้างกำไรได้มหาศาล บทพิสูจน์การมองขาดเรื่องกลุ่มเป้าหมายการตลาดที่จงใจเจาะฐานรากของพีระมิดรายได้ประชากรได้รับการพิสูจน์มาแล้วจากทั้งเจ้าของธุรกิจยักษ์ใหญ่สัญชาติไทยที่มีชื่ออยู่ใน Top List บุคคลที่มีทรัพย์สินมากที่สุดจาก Forbes อย่างแบรนด์กระทิงและเบียร์ช้าง และยังเรียกได้ว่าทั้งสองแบรนด์เป็นเจ้าตลาดล่างอยู่ในขณะนี้ ไม่มีความลังเลเรื่องกำลังซื้อลูกค้าสักนิด ...
SME CHAMPION : Business Model ตอนที่ 49 โมเดลธุรกิจแบบ Supermarket สังคมไทยเป็นสังคมที่มีความคุ้นเคยกับ Supermarket หรือระบบการค้าปลีกสมัยใหม่เป็นอย่างดี โดยสถานการณ์ที่ผ่านมาการเข้ามาของ e-Commerce ดูเหมือจะเข้ามา Disrupt โมเดลดังกล่าวแต่ในความเป็นจริงแล้ว Supermarket ยังเป็นสิ่งที่ไม่ตาย เพียงแค่เกิดการพัฒนาบางอย่างขึ้น และมันน่าสนใจมาก แต่เดิมแล้วรูปแบบของโมเดลนี้คือธุรกิจที่รวมสินค้าอุปโภคและบริโภคคล้ายกับร้านสะดวกซื้อ เพียงแค่จะเป็นโมเดลที่ใหญ่กว่า โดยมีแผนกโซนชัดเจน เช่น อาหารสด ผลิตภัณฑ์อุปกรณ์ภายในบ้าน ฯลฯ มีสินค้าให้เลือกซื้อหลากหลายมากกว่า ในราคาถูกผู้บริโภคสามารถเอื้อมถึง จึงทำให้โมเดลดังกล่าวได้รับความนิยมต่อผู้บริโภคจำนวนมาก เช่น ในต่างประเทศมีแบรนด์ซุปเปอร์มาร์เก็ตชื่อว่า Toy R us วางจำหน่ายขายเฉพาะของเล่นเท่านั้น มีราคาตั้งแต่แพงไปจนราคาถูก หลากหลายให้ลูกค้าได้เลือกซื้อ ธุรกิจซุปเปอร์มาร์เก็ตนั้นสามารถให้บริการที่ไหนก็ได้ ...
โลกของเรามักเกิดสิ่งที่เรียกว่า โลกาภิวัตน์ (Globalization) จากตะวันตกไหลเวียนสู่ตะวันออก ทำให้กระแสไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ พลังงาน สิ่งแวดล้อม และการเมือง ของประเทศฝั่งตะวันตก ส่งผลและมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาของทวีปฝั่งเอเชียเสมอ แม้หลายปีมานี้มักจะมีคนบอกตลอดว่า เมื่อถึงยุคศตวรรษที่ 21 จะกลายเป็นยุคที่จุดศูนย์กลางของโลกเคลื่อนย้ายจากตะวันตกมาที่เอเชียหรือที่เรียกกันว่า Emerging Trends in Asia ก็ตาม แต่ปัจจัยบางอย่างโดยเฉพาะโมเดลในการพัฒนาสิ่งต่างๆ เอเชียก็ยังต้องทำการ Reverse กระบวนการศึกษาโดยการแกะรอยนวัตกรรมและเทคโนโลยีหรือโมเดลการออกแบบใดๆ จากประเทศฝั่งตะวันตก โดยเฉพาะจากของสหรัฐฯ อยู่ดี เพราะความก้าวหน้าบางอย่างถ้าเราพัฒนาเองอาจตามหลังพวกเขาถึง 40 ปี Subscription Business Model หรือก็คือธุรกิจระบบสมาชิกอีกหนึ่งรูปแบบ และมันไม่ใหม่เลย เพราะรูปแบบโมเดลนี้สมัยก่อนนิยมมากในวงการสิ่งพิมพ์นิตยสารและบริษัทซอฟท์แวร์ และโมเดลนี้มันกำลังจะนิยมจนระเบิดเป็นผุแตกจากแค่ Subscription Business Model สู่ ...
ในช่วง SME TALK โดย ดร.เกษม พิพัฒน์เสรีธรรม กรรมการผู้จัดการบริษัท 40 เค แอนด์ พี จำกัด และที่ปรึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้ให้มุมมองแนวคิดของการจับกระแสสังคม หรือพฤติกรรมของผู้บริโภคเพื่อปรับไปสู่ธุรกิจสร้างรายได้ มีเงิน…จึงจะมีเวลา เป็นแนวคิดของคนยุควัยทำงาน ที่ต้องการหาเงินแล้วจะได้มีเวลาทำอย่างอื่นอืกมากมาย แต่ในทางกลับกัน “มีเวลา…จะได้ มีเงิน” วิธีการคิดนี้จะเป็นมุมมองของคนที่ทำธุรกิจ หรือการบริหารจัดการที่ลงตัวแล้วใช้โอกาสที่การมีเวลาที่เหลือไปพัฒนาหาโอกาสทางธุรกิจอื่นๆ เพื่อสร้างรายได้มากขึ้น ติดตามรายละเอียดทั้งหมดได้ในรายการ SME CHAMPION สนใจอ่านบทความทั้งหมดของ ดร.เกษม พิพัฒน์เสรีธรรม จากหนังสือ “ตังค์หาง่าย” ติดต่อได้ทางรายการ #SME_Champion 19.30-20.00 โดย ดร.อุดมธิปก ไพรเกษตร และ ปิยะพงษ์ เคนทวาย ...
ทำไมเดลธุรกิจแบบ One for One ถึงประสบความสำเร็จ? เพราะมันเหมือนกับสิ่งที่ Robin Hood ทำน่ะสิ การอ้างความชอบธรรมในการทำคุณงามความดี โดยการขายสินค้าและบริการให้กับ “คนรวย” ในราคาที่สูงกว่าขายให้ “คนจน” ซึ่งกำไรส่วนใหญ่ของบริษัทได้มาจากฐานลูกค้าที่เป็นคนรวย และ One for One ยังเป็นโมเดลธุรกิจที่ให้ผู้บริโภครู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของการคืนกำไรสู่สังคม แตกต่างจากกการทำ CSR ปกติทั่วไป ที่บริษัทได้ประโยชน์อยู่แค่ฝ่ายเดียวเท่านั้น แต่ผู้บริโภครู้สึกมีส่วนร่วมในการทำความดีนี้ด้วย เรียกว่าเป็น “Feel Good Factor” ไปเลย โดยเฉพาะยิ่งการที่คนในสังคมเห็นว่าผู้บริโภคใส่รองเท้าของแบรนด์อะไรอยู่ และแบรนด์นี้กำลังทำอะไรอยู่ ทำให้ส่งเสริมภาพลักษณ์ของทั้งแบรนด์และผู้บริโภคไปด้วย การทำธุรกิจแบบ Robin Hood นั้นมีเป้าหมายอยู่สองประเภท หนึ่ง เพื่อสร้างชื่อเสียง สอง ...
SME CHAMPION : Business Model ตอนที่ 43 เจาะนวัตกรรมคู่แข่งด้วย ‘นวัตกรรมย้อนรอย’ นวัตกรรมย้อนรอยกลยุทธ์และข้อได้เปรียบที่อินเดียและจีนทำใช้เพื่อสร้างข้อได้เปรียบในการพัฒนาประเทศ Reverse Innovation หรือนวัตกรรมย้อนรอยเป็นโมเดลธุรกิจที่หลายองค์กรเริ่มตื่นตัวและปรับรูปแบบธุรกิจไปแล้ว เนื่องจากกลยุทธ์นี้เป็นแนวคิดการผลิตสินค้าที่สวนทางจากหลักการเดิมๆ ไปเลย ปกติเวลาที่บริษัทจะผลิตสินค้ามักจะทำเพื่อตอบสนองกับตลาดที่มีศักยภาพเป็นหลัก เช่น ตลาดสหรัฐฯ ยุโรป ญี่ปุ่น สิงคโปร์ เป็นต้น ก่อนจะกระจายไปประเทศอื่นๆ ทั่วโลก ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนเลย คือ สินค้าจากแบรนด์ระดับ Hi-end อย่าง Hermes ร้องเท้ากีฬา Nike บางรุ่น หรือแม้กระทั่งสมาร์ทโฟนอย่าง Apple ที่จะเข้าประเทศพัฒนาแล้วก่อน แต่ระยะหลังหลายปีที่ผ่านมานวัตกรรมย้อนรอยถูกนำมาใช้มากขึ้น เพื่อการพัฒนาสินค้าให้ตอบสนองประเทศที่กำลังพัฒนาแทน ทำให้เป็นรูปแบบโมเดลสวนทางกับรูปแบบระบบเดิมอย่างสิ้นเชิง ประเทศกำลังพัฒนาเป็นประเทศที่ต้องการสินค้าคุณภาพเดียวกับฝั่งพัฒนาแล้ว ...
วิศวกรรมย้อนรอย (Reverse engineering) ปกติเป็นโมเดลธุรกิจที่รู้จักกันดีในมุมหนึ่งในวงการอุตสาหกรรมของแวดวงการวิจัยและพัฒนา (Research & Development : R&D) ซึ่งไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่ก็ไม่ใช่เรื่องที่หลายคนจะคุ้นแน่นอน บอกได้เลยว่าเรื่องนี้ทุกคนจะต้องเซอร์ไพรส์ Reverse Engineer จะใช้เทคนิคแงะอุปกรณ์หรือฟังก์ชันของเป้าหมาย เพื่อศึกษาแล้วสร้างใหม่ให้มีความสามารถเหมือนเดิมหรือดีกว่าเดิม หากแปลง่ายๆ ก็คือ ‘การแกะสูตร’ ในวงการวิศกรรมเทคนิคนี้นิยมมาก โดยเฉพาะการในหมู่แวดวงโจมตีแบบ Zero-day ของ Hacker ที่จะดูว่าซอฟแวร์ของเป้าหมายที่จะโจ้มตีมีช่องโหว่ที่ใดบ้าง จากนั้นก็ใช้ช่องโหว่นั้นโจมตีเครื่องที่ไม่ได้มีการอัพเดตซอฟแวร์ หรือแม้แต่กรณีของสมาร์ทโฟนอย่าง Apple ที่เพิ่งจะวางจำหน่ายได้เพียงแค่ 1 วันก็โดน จีน Reverse engineering เครื่องที่ออกมากหน้าตาและซอฟแวร์เหมือนกันเป๊ะ จนบางครั้งถึงกับขนานนามเทคนิคนี้ว่า Copy and Development โดยไม่จำเป็นต้องพัฒนาให้เหมือนต้นแบบ ...
SME CHAMPION : กฎหมายอีเพย์เมนต์ เริ่มใช้ปี 63 ผู้ประกอบการ และ SME จะมีผลกระทบอย่างไร? จากกระแสข่าวที่มีการพูดถึงกันเกี่ยวกับ กฎหมายอีเพย์เมนต์ ซึ่งต่างให้ความเห็นว่าทั้งผู้ประกอบการ SME รวมถึง ผู้บริโภค ประชาชนทั่วไป จะได้รับผลกระทบนั้น จากข้อมูลด้านการเก็บรวมรวมการรับโอนเงินผ่านบัญชีถึง 3,000 ครั้งต่อปี และมียอดเงินเกิน 2 ล้านบาท ในรายการ SME CHAMPION โดย ดร.อุดมธิปก ไพรเกษตร กรรมการผู้จัดการบริษัท ดิจิทัล บิสิเนส คอนเซ้าท์ จำกัด และรองประธานสมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย ได้ให้ความเห็นว่า เรื่องดังกล่าวเป็นเรื่องที่ไม่มีผลกระทบอะไรมาก ทั้งกลุ่ม SME ...
SME CHAMPION : โมเดลรายได้มหาศาลจาก YouTube เราจะมาถอดโมเดลรายได้ของ Blogger ที่ได้ ‘Revenue sharing’ จาก YouTube มาบอกกัน เราต่างรู้กันดีว่า YouTube มีโมเดลรายได้มาจากการโฆษณา คำถามก็คือแล้วเหล่า Creators ที่คอยสร้าง Content บน Channel ล่ะ นอกจากได้จากการทำ Advertorial แล้วยังมีที่มาจากไหนได้อีก คำตอบก็คือ YouTube เองเขาก็วางโมเดลตอบแทนรายได้เล็กๆ น้อยๆ ให้ ซึ่งคนที่จ่ายคือ Google ให้กับวิดีโอของ YouTube Partner ได้ค่าตอบ 0.1 – 5 ...
เช่าดีกว่าซื้อ โมเดลที่เอาใจผู้บริโภค -มีสัญญาผูกมัด/ การันตี การให้บริการ -มีบริการหลังการขาย -มีบริการเสริมให้เลือกใช้ได้หลากหลาย ผู้ประกอบการสามารถให้เช่าได้หลายรูปแบบ โดยขึ้นอยู่กับลูกค้า #SME_Champion 19.30-20.00 โดย ดร.อุดมธิปก ไพรเกษตร และ ปิยะพงษ์ เคนทวาย ...